Close Menu
นนทรีอีสานเพื่อความยั่งยืน
    Demo
    ข่าวประชาสัมพันธ์

    ทำไมผึ้งและแมลงผสมเกสรอื่นๆ อาจเป็นสิ่งมีชีวิตที่สำคัญที่สุดบนโลกใบนี้

    14 ตุลาคม 2024

    Restor เครือข่ายแห่งธรรมชาติ: ปฏิวัติการอนุรักษ์ป่าฝนอย่างไร

    14 ตุลาคม 2024

    เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) คืออะไร?

    14 ตุลาคม 2024
    Facebook Instagram YouTube Reddit TikTok
    นนทรีอีสานเพื่อความยั่งยืน
    • หน้าหลัก
    • มิติด้านสังคม
      • SDG1:ความอดอยากต้องหมดไป
      • SDG2:การถ่ายทอดองค์ความรู้/ทักษะ/เทคโนโลยีการเกษตร ให้แก่เกษตรกรในท้องถิ่นและผู้ผลิดอาหาร (ไม่คิดค่าใช้จ่าย)
      • SDG3:การมีสุขภาวะที่ดี
      • SDG4:การศึกษาที่มีคุณภาพ
    • มิติด้านเศรษฐกิจ
      • SDG11:เมืองและชุมชนที่ยั่งยืน
    • มิติด้านสิ่งแวดล้อม
      • SDG12:ผลิตและบริโภคอย่างมีความรับผิดชอบ
      • SDG13:แก้ปัญหาโลกร้อน
      • SDG14:ชีวิตในน้ำ
      • SDG15:ชีวิตบนบก
    • มิติด้านสันติภาพ
      • SDG16:ความสงบสุขและยุติธรรม
    • มิติด้านหุ้นส่วนการพัฒนา
      • SDG17:ความร่วมมือการพัฒนาที่ยั่งยืน
    นนทรีอีสานเพื่อความยั่งยืน
    หน้าหลัก»SDG1:ความอดอยากต้องหมดไป»โครงการบริการวิชาการ “การเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจการท่องเที่ยวตามแนวคิด BCG : สีย้อมจากวัชพืชไมยราบ”

    โครงการบริการวิชาการ “การเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจการท่องเที่ยวตามแนวคิด BCG : สีย้อมจากวัชพืชไมยราบ”

    0
    โดย admin เมื่อ 13 ตุลาคม 2024 SDG1:ความอดอยากต้องหมดไป, คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ
    แชร์
    Facebook Twitter Pinterest Email Telegram Copy Link

    โครงการบริการวิชาการ “การเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจการท่องเที่ยวตามแนวคิด BCG : สีย้อมจากวัชพืชไมยราบ” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์อมร โปร่งมณี อาจารย์ประจำสาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการบริการ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนครปีงบประมาณ 2565

    โดยมีวัตถุประสงค์

      • เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจการท่องเที่ยวตามแนวคิด BCG โดยใช้สีย้อมจากวัชพืชไมยราบ
      • เพื่อสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อลวดลายและสูตรการย้อมจากวัชพืชไมยราบ

     

    นวัตกรรมนี้แสดงถึงศักยภาพในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน สอดคล้องกับนโยบายด้าน SDGs เป้าหมายที่ 1 ในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ภูมิปัญญา และการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ มุ่งเน้นประโยชน์ และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ เพื่อยุติความยากจนในทุกมิติ ดังนี้

      • สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับวัชพืชในท้องถิ่น โดยพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมตามแนวคิด BCG
      • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและสร้างรายได้ให้ชุมชน ผ่านการต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่นวัตกรรมใหม่
      • จัดทำคู่มือการมัดย้อมผ้าจากไมยราบ เป็นแหล่งความรู้สำหรับชุมชนและผู้สนใจ
      • เผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากวัชพืชท้องถิ่นอย่างสร้างสรรค์

     

    1.4 1.4.1 1.4.2 1.4.3 1.4.4

    เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง

    โครงการ “เกษตรศาสตร์ STRONG องค์กรโปร่งใส ร่วมต้านภัยทุจริต”

    14 ตุลาคม 202498 อ่าน

    โครงการ “การอบรมใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ ChatGPT” ภายใต้ โครงการพัฒนาผู้ประกอบการรุ่นใหม่ (วัยเก๋า)

    14 ตุลาคม 202455 อ่าน

    โครงการ “พัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่มอาชีพผู้สูงอายุสู่สินค้า DIY” ภายใต้โครงการพัฒนาผู้ประกอบการรุ่นใหม่ (วัยเก๋า)

    14 ตุลาคม 202462 อ่าน
    SDGs World โลกสู่ความยั่งยืน

    ทำไมผึ้งและแมลงผสมเกสรอื่นๆ อาจเป็นสิ่งมีชีวิตที่สำคัญที่สุดบนโลกใบนี้

    14 ตุลาคม 2024106 อ่าน

    Restor เครือข่ายแห่งธรรมชาติ: ปฏิวัติการอนุรักษ์ป่าฝนอย่างไร

    14 ตุลาคม 202441 อ่าน

    เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) คืออะไร?

    14 ตุลาคม 202437 อ่าน

    วันสากลเด็กผู้หญิง: พลังของผู้หญิงในฐานะตัวเปลี่ยนเกมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

    14 ตุลาคม 20243 อ่าน
    โครงการและกิจกรรม sdgs มก.ฉกส.
    SDG17:ความร่วมมือการพัฒนาที่ยั่งยืน

    คณะ วว. จัดทำหลักสูตรที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความยั่งยืน และ SDGs

    14 ตุลาคม 20241 นาทีที่อ่าน24 อ่าน

    คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร จัดทำ “หลักสูตรที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความยั่งยืน และ SDGs …

    โครงการ “เกษตรศาสตร์ STRONG องค์กรโปร่งใส ร่วมต้านภัยทุจริต”

    14 ตุลาคม 2024

    โครงการ “การสร้างแหล่งเรียนรู้ป่าไม้ให้สีพื้นที่ จำนวน 18 ไร่ ของชุมชนบ้านกุดจิก”

    14 ตุลาคม 2024

    เส้นทางศึกษาธรรมชาติเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในอุทยานธรรมชาติวิทยาป่าเต็งรัง เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ

    14 ตุลาคม 2024
    ติดตามเราผ่านช่องทางอื่น
    • Facebook
    • Twitter
    • Pinterest
    • Instagram
    • YouTube
    • TikTok

    รับข่าวสารจากเรา

    ติดต่อหน่วยงาน
    ติดต่อหน่วยงาน

    มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร
    59 หมู่ 1 ต.เชียงเครือ อ.เมือง จ.สกลนคร 47000
    Email: pongpipat.sri@ku.th
    โทรศัพท์: 042725043

    Facebook X (Twitter) YouTube TikTok
    เนื้อหาล่าสุด

    ทำไมผึ้งและแมลงผสมเกสรอื่นๆ อาจเป็นสิ่งมีชีวิตที่สำคัญที่สุดบนโลกใบนี้

    14 ตุลาคม 2024

    Restor เครือข่ายแห่งธรรมชาติ: ปฏิวัติการอนุรักษ์ป่าฝนอย่างไร

    14 ตุลาคม 2024

    เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) คืออะไร?

    14 ตุลาคม 2024
    บทความยอดนิยม

    ทำไมผึ้งและแมลงผสมเกสรอื่นๆ อาจเป็นสิ่งมีชีวิตที่สำคัญที่สุดบนโลกใบนี้

    14 ตุลาคม 2024106 อ่าน

    Restor เครือข่ายแห่งธรรมชาติ: ปฏิวัติการอนุรักษ์ป่าฝนอย่างไร

    14 ตุลาคม 202441 อ่าน

    เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) คืออะไร?

    14 ตุลาคม 202437 อ่าน
    © 2025 Kasetsart University Chalermphrakiat Sakon Province Campus Designed by Department of Information Technology.
    • หน้าหลัก

    กรุณาพิมพ์คำค้นที่ต้องการแล้วกดปุ่ม Enter เพื่อทำการค้นหา หรือกดปุ่ม Esc เพื่อยกเลิก...