Close Menu
นนทรีอีสานเพื่อความยั่งยืน
    Demo
    ข่าวประชาสัมพันธ์

    ทำไมผึ้งและแมลงผสมเกสรอื่นๆ อาจเป็นสิ่งมีชีวิตที่สำคัญที่สุดบนโลกใบนี้

    14 ตุลาคม 2024

    Restor เครือข่ายแห่งธรรมชาติ: ปฏิวัติการอนุรักษ์ป่าฝนอย่างไร

    14 ตุลาคม 2024

    เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) คืออะไร?

    14 ตุลาคม 2024
    Facebook Instagram YouTube Reddit TikTok
    นนทรีอีสานเพื่อความยั่งยืน
    • หน้าหลัก
    • มิติด้านสังคม
      • SDG1:ความอดอยากต้องหมดไป
      • SDG2:การถ่ายทอดองค์ความรู้/ทักษะ/เทคโนโลยีการเกษตร ให้แก่เกษตรกรในท้องถิ่นและผู้ผลิดอาหาร (ไม่คิดค่าใช้จ่าย)
      • SDG3:การมีสุขภาวะที่ดี
      • SDG4:การศึกษาที่มีคุณภาพ
    • มิติด้านเศรษฐกิจ
      • SDG11:เมืองและชุมชนที่ยั่งยืน
    • มิติด้านสิ่งแวดล้อม
      • SDG12:ผลิตและบริโภคอย่างมีความรับผิดชอบ
      • SDG13:แก้ปัญหาโลกร้อน
      • SDG14:ชีวิตในน้ำ
      • SDG15:ชีวิตบนบก
    • มิติด้านสันติภาพ
      • SDG16:ความสงบสุขและยุติธรรม
    • มิติด้านหุ้นส่วนการพัฒนา
      • SDG17:ความร่วมมือการพัฒนาที่ยั่งยืน
    นนทรีอีสานเพื่อความยั่งยืน
    หน้าหลัก»SDG2:การถ่ายทอดองค์ความรู้/ทักษะ/เทคโนโลยีการเกษตร ให้แก่เกษตรกรในท้องถิ่นและผู้ผลิดอาหาร (ไม่คิดค่าใช้จ่าย)»โครงการเพื่อการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ทางวิชาการในหัวข้อ “การจัดการธาตุอาหารพืชและดินอย่างมีประสิทธิภาพ”

    โครงการเพื่อการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ทางวิชาการในหัวข้อ “การจัดการธาตุอาหารพืชและดินอย่างมีประสิทธิภาพ”

    0
    โดย admin เมื่อ 14 ตุลาคม 2024 SDG2:การถ่ายทอดองค์ความรู้/ทักษะ/เทคโนโลยีการเกษตร ให้แก่เกษตรกรในท้องถิ่นและผู้ผลิดอาหาร (ไม่คิดค่าใช้จ่าย), คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร
    แชร์
    Facebook Twitter Pinterest Email Telegram Copy Link

    คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร ร่วมกับ บริษัท ไทยเซ็นทรัลเคมี จำกัด (มหาชน) จัดโครงการเพื่อการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ทางวิชาการในหัวข้อ “การจัดการธาตุอาหารพืชและดินอย่างมีประสิทธิภาพ” เพื่อผลผลิตทางการเกษตรที่เพิ่มขึ้นของเกษตรกรในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึ่งได้รับความอนุเคราะห์จากท่านเอกอัครราชทูต ณ เวียงจันทร์ นางสาวมรกต ศรีสวัสดิ์ เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการ พร้อมทั้งได้รับความร่วมมือจากมหาวิทยาลัยในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และกระทรวงกสิกรรมและป่าไม้ ให้การสนับสนุนการดำเนินงานในครั้งนี้

    • ครั้งที่ 1 วันที่ 19 กันยายน 2566 ณ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
    • ครั้งที่ 2 วันที่ 21 กันยายน 2566 มหาวิทยาลัยสุพานุวง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
    • ครั้งที่ 3 วันที่ 17 ตุลาคม 2566 มหาวิทยาลัยสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
    • ครั้งที่ 4 วันที่ 25 ตุลาคม 2566 มหาวิทยาลัยจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการฯ

    ทั้ง 4 แห่งของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ยอดรวม จำนวน 1,200 คน ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นกลุ่มเกษตรกร ร้านค้าผู้จำหน่ายปุ๋ย นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน และกลุ่มเกษตรกร ร้านค้าผู้จำหน่ายปุ๋ย และประชาชนทั่วไปในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 4 แห่ง ได้แก่ นครหลวงเวียงจันทน์ แขวงหลวงพระบาง แขวงสะหวันนะเขต และแขวงจำปาสัก

    การจัดโครงการครั้งนี้ผู้เข้าร่วมอบรม เกษตรกร นักศึกษา และผู้ที่สนใจทั่วไป ได้รับองค์ความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับปุ๋ยเคมี รวมถึงเรื่องของการใช้ปุ๋ยเคมีที่ถูกสูตร ถูกอัตรา ถูกเวลาและถูกวิธี รวมถึงได้ทราบ และทดลองปฏิบัติ เกี่ยวกับการตรวจคุณภาพของดิน เพื่อให้สอดคล้องกับการใช้ปุ๋ยอย่างถูกต้อง และได้ผลผลิตทางการเกษตรที่สูงมากขึ้น

    2.5 2.5.1 2.5.2

    เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง

    โครงการวิจัยเรื่อง “ความหลากหลายของมดในเขตลุ่มแม่น้ำสงคราม”

    14 ตุลาคม 202436 อ่าน

    โครงการยกระดับสมรรถนะคุณภาพชีวิตของนักเรียนภายใต้กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 23

    14 ตุลาคม 202426 อ่าน

    โครงการส่งเสริมและพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรมูลค่าสูง (BCG-Precision Farming)

    14 ตุลาคม 202441 อ่าน
    SDGs World โลกสู่ความยั่งยืน

    ทำไมผึ้งและแมลงผสมเกสรอื่นๆ อาจเป็นสิ่งมีชีวิตที่สำคัญที่สุดบนโลกใบนี้

    14 ตุลาคม 2024106 อ่าน

    Restor เครือข่ายแห่งธรรมชาติ: ปฏิวัติการอนุรักษ์ป่าฝนอย่างไร

    14 ตุลาคม 202441 อ่าน

    เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) คืออะไร?

    14 ตุลาคม 202437 อ่าน

    วันสากลเด็กผู้หญิง: พลังของผู้หญิงในฐานะตัวเปลี่ยนเกมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

    14 ตุลาคม 20243 อ่าน
    โครงการและกิจกรรม sdgs มก.ฉกส.
    SDG17:ความร่วมมือการพัฒนาที่ยั่งยืน

    คณะ วว. จัดทำหลักสูตรที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความยั่งยืน และ SDGs

    14 ตุลาคม 20241 นาทีที่อ่าน24 อ่าน

    คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร จัดทำ “หลักสูตรที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความยั่งยืน และ SDGs …

    โครงการ “เกษตรศาสตร์ STRONG องค์กรโปร่งใส ร่วมต้านภัยทุจริต”

    14 ตุลาคม 2024

    โครงการ “การสร้างแหล่งเรียนรู้ป่าไม้ให้สีพื้นที่ จำนวน 18 ไร่ ของชุมชนบ้านกุดจิก”

    14 ตุลาคม 2024

    เส้นทางศึกษาธรรมชาติเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในอุทยานธรรมชาติวิทยาป่าเต็งรัง เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ

    14 ตุลาคม 2024
    ติดตามเราผ่านช่องทางอื่น
    • Facebook
    • Twitter
    • Pinterest
    • Instagram
    • YouTube
    • TikTok

    รับข่าวสารจากเรา

    ติดต่อหน่วยงาน
    ติดต่อหน่วยงาน

    มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร
    59 หมู่ 1 ต.เชียงเครือ อ.เมือง จ.สกลนคร 47000
    Email: pongpipat.sri@ku.th
    โทรศัพท์: 042725043

    Facebook X (Twitter) YouTube TikTok
    เนื้อหาล่าสุด

    ทำไมผึ้งและแมลงผสมเกสรอื่นๆ อาจเป็นสิ่งมีชีวิตที่สำคัญที่สุดบนโลกใบนี้

    14 ตุลาคม 2024

    Restor เครือข่ายแห่งธรรมชาติ: ปฏิวัติการอนุรักษ์ป่าฝนอย่างไร

    14 ตุลาคม 2024

    เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) คืออะไร?

    14 ตุลาคม 2024
    บทความยอดนิยม

    ทำไมผึ้งและแมลงผสมเกสรอื่นๆ อาจเป็นสิ่งมีชีวิตที่สำคัญที่สุดบนโลกใบนี้

    14 ตุลาคม 2024106 อ่าน

    Restor เครือข่ายแห่งธรรมชาติ: ปฏิวัติการอนุรักษ์ป่าฝนอย่างไร

    14 ตุลาคม 202441 อ่าน

    เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) คืออะไร?

    14 ตุลาคม 202437 อ่าน
    © 2025 Kasetsart University Chalermphrakiat Sakon Province Campus Designed by Department of Information Technology.
    • หน้าหลัก

    กรุณาพิมพ์คำค้นที่ต้องการแล้วกดปุ่ม Enter เพื่อทำการค้นหา หรือกดปุ่ม Esc เพื่อยกเลิก...