Close Menu
นนทรีอีสานเพื่อความยั่งยืน
    Demo
    ข่าวประชาสัมพันธ์

    ทำไมผึ้งและแมลงผสมเกสรอื่นๆ อาจเป็นสิ่งมีชีวิตที่สำคัญที่สุดบนโลกใบนี้

    14 ตุลาคม 2024

    Restor เครือข่ายแห่งธรรมชาติ: ปฏิวัติการอนุรักษ์ป่าฝนอย่างไร

    14 ตุลาคม 2024

    เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) คืออะไร?

    14 ตุลาคม 2024
    Facebook Instagram YouTube Reddit TikTok
    นนทรีอีสานเพื่อความยั่งยืน
    • หน้าหลัก
    • มิติด้านสังคม
      • SDG1:ความอดอยากต้องหมดไป
      • SDG2:การถ่ายทอดองค์ความรู้/ทักษะ/เทคโนโลยีการเกษตร ให้แก่เกษตรกรในท้องถิ่นและผู้ผลิดอาหาร (ไม่คิดค่าใช้จ่าย)
      • SDG3:การมีสุขภาวะที่ดี
      • SDG4:การศึกษาที่มีคุณภาพ
    • มิติด้านเศรษฐกิจ
      • SDG11:เมืองและชุมชนที่ยั่งยืน
    • มิติด้านสิ่งแวดล้อม
      • SDG12:ผลิตและบริโภคอย่างมีความรับผิดชอบ
      • SDG13:แก้ปัญหาโลกร้อน
      • SDG14:ชีวิตในน้ำ
      • SDG15:ชีวิตบนบก
    • มิติด้านสันติภาพ
      • SDG16:ความสงบสุขและยุติธรรม
    • มิติด้านหุ้นส่วนการพัฒนา
      • SDG17:ความร่วมมือการพัฒนาที่ยั่งยืน
    นนทรีอีสานเพื่อความยั่งยืน
    หน้าหลัก»SDG2:การถ่ายทอดองค์ความรู้/ทักษะ/เทคโนโลยีการเกษตร ให้แก่เกษตรกรในท้องถิ่นและผู้ผลิดอาหาร (ไม่คิดค่าใช้จ่าย)»กิจกรรมการอบรม “การถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ผู้ประกอบการผลิตอาหารหมักโดยใช้หัวเชื้อจุลินทรีย์ครั้งที่ 1”

    กิจกรรมการอบรม “การถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ผู้ประกอบการผลิตอาหารหมักโดยใช้หัวเชื้อจุลินทรีย์ครั้งที่ 1”

    0
    โดย admin เมื่อ 14 ตุลาคม 2024 SDG2:การถ่ายทอดองค์ความรู้/ทักษะ/เทคโนโลยีการเกษตร ให้แก่เกษตรกรในท้องถิ่นและผู้ผลิดอาหาร (ไม่คิดค่าใช้จ่าย), คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร, คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ
    แชร์
    Facebook Twitter Pinterest Email Telegram Copy Link

    เมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2567 คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร จัดกิจกรรมการอบรม “การถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ผู้ประกอบการผลิตอาหารหมักโดยใช้หัวเชื้อจุลินทรีย์ครั้งที่ 1 ” ณ ห้อง 21-215 อาคารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2

    วันศุกร์ ที่ 16 กุมภาพันธ์ 2567 “การถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ผู้ประกอบการผลิตอาหารหมักโดยใช้หัวเชื้อจุลินทรีย์ครั้งที่ 2 ” ณ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี

    วันเสาร์ ที่ 27 มกราคม 2567 “การถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ผู้ประกอบการผลิตอาหารหมักโดยใช้หัวเชื้อจุลินทรีย์ครั้งที่ 3 ” ณ ห้อง Sc.101 อาคารศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฏร์ธานี  โดยได้รับทุนจากสำนักงานสภานโยบายการอุดศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ

    โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปานชีวัน ปอนพังงา รองคณบดีฝ่ายบริหารและพัฒนาองค์กร เป็นประธานกล่าวเปิดงาน มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ประกอบการ (2) เพื่อให้ความรู้/สร้างความเข้าใจในการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์เพื่อการผลิตอาหารหมัก (3) เพื่อสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการที่มีความพร้อมและมีความต้องการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์

    ถ่ายทอดองค์ความรู้จากท่านวิทยากร อาจารย์ ดร.ฐิตาวรรณ อินสะอาด อาจารย์ประจำภาควิชาบริหารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ ให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนากลุ่มผู้ประกอบการชุมชน กรณีศึกษา เมี่ยงโค้นน้ำปลาร้า (แม่รุ่ง)

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชื่นจิต จันทจรูญพงษ์ อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีการอาหารและโภชนาการ คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร ให้ความรู้ในเรื่องของ ความรู้เกี่ยวกับจุลินทรีย์ และการสาธิตการใช้หัวเชื้อจุลินทรีย์ในการหมักปลาร้า

    นายกิตติศักดิ์ ไท้ทอง เภสัชกรชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้ทางด้านอนามัย

    สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสกลนคร ถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับแนวทางการสนับสนุนการลงทุน/เครื่องมือเพื่อการประกอบธุรกิจ/ช่องทางการจำหน่ายสินค้าอาหาร

    อาจารย์ ดร.บุศราวรรณ ไชยะ อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีการอาหารและโภชนาการ คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร ให้ความรู้เกี่ยวกับ ข้อมูลการให้บริการแก่ผู้ประกอบการด้านการวิจัย/พัฒนาผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์

    คุณเสาวคนธ์ ต่วนเทศ นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการพิเศษ ประจำภาควิชาเทคโนโลยีการอาหารและโภชนาการ คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร ให้ความรู้เกี่ยวกับข้อมูลการให้บริการด้านการตรวจสอบคุณภาพและความปลอดภัยของอาหาร

    จากการได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ประกอบการผ่าน “การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถ่ายทอดองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ประกอบการ และสร้างความร่วมมือระหว่างเครือข่าย” ซึ่งมีผู้ประกอบการจากเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคใต้ เข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว เป็นการสร้างความรู้/สร้างความเข้าใจในการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ เพื่อการผลิตอาหารหมักให้กับผู้ประกอบการในเขตพื้นที่เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคใต้ จึงทำให้เกิดเครือข่ายผู้ประกอบการที่มีความพร้อม และมีความต้องการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคใต้

    2.5 2.5.1 2.5.2

    เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง

    โครงการ “เกษตรศาสตร์ STRONG องค์กรโปร่งใส ร่วมต้านภัยทุจริต”

    14 ตุลาคม 202498 อ่าน

    โครงการวิจัยเรื่อง “ความหลากหลายของมดในเขตลุ่มแม่น้ำสงคราม”

    14 ตุลาคม 202436 อ่าน

    โครงการยกระดับสมรรถนะคุณภาพชีวิตของนักเรียนภายใต้กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 23

    14 ตุลาคม 202426 อ่าน
    SDGs World โลกสู่ความยั่งยืน

    ทำไมผึ้งและแมลงผสมเกสรอื่นๆ อาจเป็นสิ่งมีชีวิตที่สำคัญที่สุดบนโลกใบนี้

    14 ตุลาคม 2024106 อ่าน

    Restor เครือข่ายแห่งธรรมชาติ: ปฏิวัติการอนุรักษ์ป่าฝนอย่างไร

    14 ตุลาคม 202441 อ่าน

    เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) คืออะไร?

    14 ตุลาคม 202437 อ่าน

    วันสากลเด็กผู้หญิง: พลังของผู้หญิงในฐานะตัวเปลี่ยนเกมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

    14 ตุลาคม 20243 อ่าน
    โครงการและกิจกรรม sdgs มก.ฉกส.
    SDG17:ความร่วมมือการพัฒนาที่ยั่งยืน

    คณะ วว. จัดทำหลักสูตรที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความยั่งยืน และ SDGs

    14 ตุลาคม 20241 นาทีที่อ่าน24 อ่าน

    คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร จัดทำ “หลักสูตรที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความยั่งยืน และ SDGs …

    โครงการ “เกษตรศาสตร์ STRONG องค์กรโปร่งใส ร่วมต้านภัยทุจริต”

    14 ตุลาคม 2024

    โครงการ “การสร้างแหล่งเรียนรู้ป่าไม้ให้สีพื้นที่ จำนวน 18 ไร่ ของชุมชนบ้านกุดจิก”

    14 ตุลาคม 2024

    เส้นทางศึกษาธรรมชาติเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในอุทยานธรรมชาติวิทยาป่าเต็งรัง เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ

    14 ตุลาคม 2024
    ติดตามเราผ่านช่องทางอื่น
    • Facebook
    • Twitter
    • Pinterest
    • Instagram
    • YouTube
    • TikTok

    รับข่าวสารจากเรา

    ติดต่อหน่วยงาน
    ติดต่อหน่วยงาน

    มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร
    59 หมู่ 1 ต.เชียงเครือ อ.เมือง จ.สกลนคร 47000
    Email: pongpipat.sri@ku.th
    โทรศัพท์: 042725043

    Facebook X (Twitter) YouTube TikTok
    เนื้อหาล่าสุด

    ทำไมผึ้งและแมลงผสมเกสรอื่นๆ อาจเป็นสิ่งมีชีวิตที่สำคัญที่สุดบนโลกใบนี้

    14 ตุลาคม 2024

    Restor เครือข่ายแห่งธรรมชาติ: ปฏิวัติการอนุรักษ์ป่าฝนอย่างไร

    14 ตุลาคม 2024

    เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) คืออะไร?

    14 ตุลาคม 2024
    บทความยอดนิยม

    ทำไมผึ้งและแมลงผสมเกสรอื่นๆ อาจเป็นสิ่งมีชีวิตที่สำคัญที่สุดบนโลกใบนี้

    14 ตุลาคม 2024106 อ่าน

    Restor เครือข่ายแห่งธรรมชาติ: ปฏิวัติการอนุรักษ์ป่าฝนอย่างไร

    14 ตุลาคม 202441 อ่าน

    เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) คืออะไร?

    14 ตุลาคม 202437 อ่าน
    © 2025 Kasetsart University Chalermphrakiat Sakon Province Campus Designed by Department of Information Technology.
    • หน้าหลัก

    กรุณาพิมพ์คำค้นที่ต้องการแล้วกดปุ่ม Enter เพื่อทำการค้นหา หรือกดปุ่ม Esc เพื่อยกเลิก...