นโยบายและแนวทางการจัดการความรู้ มก.
การดำเนินงานด้านการจัดการความรู้ ปี ๒๕๕๙ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร มีเปาหมายในการพัฒนาองคกรไปสูองคกรแหงการเรียนรูจึงมีนโยบายที่ ผลักดันใหมีการจัดการความรูทั่วทั้งมหาวิทยาลัย ซึ่งไดดําเนินการมาอยางตอเนื่อง ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๕๐ เปนตนมา และมีความพยายามที่จะทําใหการจัดการความรูภายในมหาวิทยาลัยเปนระบบ เปนรูปธรรมที่ชัดเจน โดยไดจัดทําแผนการจัดการความรูขึ้น และไดถายทอดลงไปสูหนวยงานภายใน มหาวิทยาลัย สําหรับการดําเนินการจัดการความรู ปีการศึกษา ๒๕๕๙ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรไดจัดโครงการ ประชุมเพื่อสรุปแนวทางการจัดการความรูมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๙” โดยนายภาคภูมิ ตันเตชสาธิต ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายบริหารและวางแผน ในฐานะประธานคณะกรรมการกำกับติดตามส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร ไดสรุปผลการดําเนินการจัดการความรู ปการศึกษา ๒๕๕๙ และชี้แจง นโยบายและแนวทางการดําเนินงานการจัดการความรู ปการศึกษา ๒๕๖๐ ตามแผนการกำกับติดตาม ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร ประจำปี ๒๕๕๙ ดังนี้
การส่งผลงานการจัดการความรู้ เข้าประกวดโครงการวันแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “Ku – KM Day” ครั้งที่ ๔
สุดยอดผลงานและนวัตกรรมการจัดการความรู้ ความสำเร็จและความภาคภูมิใจ
โครงการวันแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ KU-KM Day ครั้งที่ 4 | |||
วันที่ 5 กันยายน 2560 เวลา 08.30 – 16.30 น. | |||
ณ ห้องประชุมกำพล อดุลวิทย์ ชั้น 2 อาคารสารนิเทศ 50 ปี | |||
ลำดับที่ | ส่วนงาน | ชื่อผลงาน | รางวัล |
1 | สำนักทะเบียนและประมวลผล | การพัฒนาการเรียนการสอนรายวิชาศาสตร์แห่งแผ่นดิน | ชนะเลิศ |
2 | กองบริการกลาง วิทยาเขตกำแพงแสน | “การจัดการความรู้โดยใช้ SIAM-PDCA Model ปรับปรุงและพัฒนาระบบงานด้านการดูแลสระว่ายน้ำ 1 ” สนามกีฬามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน | รองชนะเลิศอันดับ 1 |
3 | กองบริหารการวิจัยและบริการวิชาการ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสกลนคร | การพัฒนาย่านเมืองเก่าสกล ถนนผ้าคราม สู่ความยั่งยืน | รองชนะเลิศอันดับ 1 |
4 | คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร | การจัดการองค์ความรู้เรื่อง “เทคนิคการเตรียมสารอิมัลชั่นไข่แดง (egg yolk emulsion) เพื่อการนำไปใช้ประโยชน์” ห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา | รองชนะเลิศอันดับ 2 |
5 | สถานพยาบาล | ควบคุมกระบวนการและควบคุมคุณภาพด้วยการจัดการความรู้ (KM for Process & Quality Control) | รองชนะเลิศอันดับ 2 |
6 | คณะเกษตร กำแพงแสน | การใช้ประโยชน์จากพลาสมาเพื่อการเกษตร | ชมเชย |
7 | สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร | เลขสารบบอาหารผ่านระบบออนไลน์ | ชมเชย |
8 | กองบริหารทั่วไป วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสกลนคร | ประสานความคิด ภารกิจเดียวกัน | ชมเชย |
9 | คณะเกษตร (ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ) | ผลงานและนวัตกรรมการจัดการความรู้ข้าวโพดหวานพันธุ์อินทรีย์2 | ชมเชย |
10 | กองบริการกลาง วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสกลนคร | ITSOLE fir Super Service | ชมเชย |
11 | สำนักบริการคอมพิวเตอร์ | การปรับปรุงการดำเนินงานด้านความมั่นคงปลอดภัยด้านไอซีทีและเทคนิคการจัดประชุม/จดรายงานการประชุม | ชมเชย |
12 | สำนักทะเบียนและประมวลผล | การพัฒนาการเรียนการสอนรายวิชาศาสตร์แห่งแผ่นดิน | Popular Vote |
13 | กองบริการกลาง วิทยาเขตกำแพงแสน | “การจัดการความรู้โดยใช้ SIAM-PDCA Model ปรับปรุงและพัฒนาระบบงานด้านการดูแลสระว่ายน้ำ 1 ” สนามกีฬามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน | Popular Vote |
- การพัฒนาย่านเสืองเก่าสกล ถนนผ้าคราม สู่ความยั่งยืน ดาวน์โหลดไฟล์
- เทคนิคการเตรียมสารอิลมั่ลชั่นไข่แดง (egg yolk emulsion) ดาวน์โหลดไฟล์
- ประสานความคิด ภารกิจเดียวกัน ดาวน์โหลดไฟล์
- IT SOLE for Super Services ดาวน์โหลดไฟล์
ผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานการจัดการความรู้
ประเด็นการจัดการความรู้ | องค์ความรู้ที่ได้รับ | หน่วยงาน |
ด้านการผลิตบัณฑิต | ||
การจัดการความรู้ เรื่อง เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อสร้างบัณฑิตนักปฏิบัติ | มีจำนวนรายวิชาที่จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นสร้างบัณฑิตนักปฏิบัติเกิดขึ้นในทุกหลักสูตร | คณะ ทอ. |
ด้านการวิจัย |
||
การพัฒนาเทคนิคการเตรียมสารอิมัลชั่นไข่แดง (egg yolk emulsion)” เพื่อการนำไปใช้ประโยชน์ | การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยขององค์กร | คณะ ทอ. |
การทำสไลด์ถาวรของสาหร่ายน้ำจืดบางชนิด มอสส์ และเฟิร์น ระยะโพรแทลลัส (Prothallus) สำหรับการเรียนการสอนปฏิบัติการ | การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยขององค์กร | คณะ ทอ. |
การผลิตคู่มือการใช้เครื่องวัดพื้นที่ใบ แบบรูปเล่มเอกสารและมัลติมีเดียผ่าน QR Code | คู่มือการใช้เครื่องมือวัดพื้นที่ใบ | คณะ ทอ. |
กระบวนการเผยแพร่ความรู้ผ่านสื่อออนไลน์ร่วมกับกิจกรรมเสริมการเสรียนรู้ด้วยตนเองทางด้านปฏิบัติการจุลชีววิทยา เพื่อเพิ่มทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ | การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยขององค์กร | คณะ ทอ. |
การผลิตสื่อการสอนใช้เครื่องมือวัดความเป็นกรด-ด่าง และเครื่องมือวัดการนำไฟฟ้าโดยใช้รหัส QR Code | การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยขององค์กร | คณะ ทอ. |
การผลิตสื่อจำแนกโพรโทซัวจากน้ำตัวอย่าง สำหรับใช้เรียนปฏิบัติการชีววิทยา | การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยขององค์กร | คณะ ทอ. |
การสร้างหน่วยวิจัย (Research Units) | มีการสร้างหน่วยวิจัยที่สามารถดำเนินงานได้จริง เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ๕ หน่วยวิจัย | คณะ ทอ. |
ด้านการบริการวิชาการ |
||
พัฒนาย่านเมืองเก่าสกล ถนนผ้าครามสู่ความยั่งยืน | พัฒนาศักยภาพขององกรรมการพัฒนาย่านเมืองเก่า สกลนครให้มีความเข้มแข็ง | กองบริหารการวิจัยฯ |
การจัดการแปลงปลูกเพื่อการเกษตร | สามารถบรรลุแผนการบริหารจัดการ การใช้พื้นที่แปลงปลูก | กองบริหารการวิจัยฯ |
ด้านการบริหารจัดการองค์กร |
||
ความรู้ในศาสตร์แต่ละด้านของคณะและกระบวนการในการถ่ายทอดองค์ความรู้ | จำนวนบุคลากรที่มีการพัฒนาระบบการเรียนรู้เพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูงไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๕๐ ของจำนวนบุคลากรของคณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดกร | คณะ ศว. |
เทคนิคการเข้าสู่ตำแหน่งชำนาญการ | ผู้ที่มีคุณสมบัติในการเข้าสู่ตำแหน่งชำนาญการสามารถจัดทำข้อเสนอเพื่อขอรับการประเมินร้อยละ ๖๐ ของผู้มีคุณสมบัติทั้งหมด | กองบริการวิชาการฯ |
การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่แนวปฏิบัติที่ดี | คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานบริหารงานบุคล | กองบริหารทั่วไป |
ITSOLE for Super Service | การจัดการความรู้ ตามระบบ ๑ คนรู้หลายงาน ๑ งานรู้หลายคน | กองบริการกลาง |